• สารบอแรกซ์ในปลาหมึกกรอบ

    ก๋วยเตี๋ยว เป็นอาหารหลักของคนไทยรองจากข้าว เกิดขึ้นสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ก๋วยเตี๋ยวเป็นอาหารที่สามารถปรุงรสชาติความอร่อยได้ด้วยตัวเอง ไม่ว่าจะเป็นก๋วยเตี๋ยวไก่ เนื้อ หมู รวมถึงผักชนิดต่างๆ จนกระทั่งปัจจุบันมีการผสมเลือดเข้าไปในน้ำซุปก็จะเรียกว่า ก๋วยเตี๋ยวน้ำตก แต่ถ้าเป็นก๋วยเตี๋ยวที่มีการนำเต้าหู้ยี้ที่มีสีแดงมาผสม จะตั้งชื่อของก๋วยเตี๋ยวใส่เต้าหู้ยี้ว่า เย็นตาโฟ

  • สารพิษจากเชื้อรา ในกาแฟคั่วบด

    กาแฟ เครื่องดื่มยอดนิยมสำหรับคนทุกเพศ โดยเฉพาะคนในวัยทำงาน เนื่องจากเมื่อดื่มเข้าไปแล้วจะเกิดความกระชุ่มกระชวย และสดชื่น จะด้วยสารอะไร สาเหตุอะไรก็ตาม วันนี้เราสามารถซื้อหากาแฟดื่มได้ทุกสถานที่ทั้งกาแฟสด กาแฟโบราณ กาแฟสำเร็จรูปพร้อมชงแบบ 3 in  1 และกาแฟปรุงสำเร็จพร้อมดื่ม ที่มีขายตามร้านสะดวกซื้อทั่วไป

  • สารกันบูดในซอสพริก ภาค 2

    ซอสพริก  เครื่องปรุงรสที่ใช้สำหรับจิ้มหรือปรุงอาหารที่อยู่คู่กับคนไทยมาช้านาน ด้วยเพราะรสชาติเผ็ดนำ เปรี้ยวตาม และหวานตบท้าย จึงเป็นที่ถูกปากของใครหลายๆ คน คนไทยมักทานซอสพริกคู่กับก๋วยเตี๋ยวเนื้อสับหรือหมูสับ  ก๋วยเตี๋ยวคั่วไก่ หอยทอด  ไข่เจียว และอาหารทอด  หรือใช้เป็นน้ำจิ้มไก่ทอด  มันฝรั่งทอด

  • โซเดียมในส้มตำปู ปลาร้า

    ส้มตำ เป็นอาหารยอดนิยมติดอันดับการโหวตของเว็บไซด์ CNN go รสชาติอ่อนๆ ก็เป็นส้มตำไทย ถ้ารสชาติร้อนแรงต้องเป็นส้มตำปู ปลาร้า ด้วยเครื่องปรุง และส่วนผสมที่ลงตัวทำให้ส้มตำปู ปลาร้า เป็นส้มตำยอดฮิตอันดับต้นๆ

  • ตะกั่วในผลไม้อบแห้งนำเข้า

    ปัจจุบันมักมีเหตุการณ์รุนแรงเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมอยู่บ่อยครั้งหนักบ้าง เบาบ้างแล้วแต่กรณี ที่สำคัญสภาวะแวดล้อมเหล่านั้นล้วนแต่เป็นที่อาศัยของพืชและสัตว์มีชีวิตหลายชนิด ซึ่งล้วนเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อาหาร เช่น  สารตะกั่ว

  • มันอยู่ใน…… เต้าเจี้ยว

    เต้าเจี้ยว เป็นอาหารหมักชนิดหนึ่งที่ได้จากการหมักถั่วเหลือง มีโปรตีนสูงและมีรสชาติคล้ายเนื้อสัตว์ ในไทยนิยมนำเต้าเจี้ยวมาประกอบเป็นอาหารชนิดต่างๆ เช่น ทำเป็นเครื่องจิ้ม  หลน หรือนำมาทำเป็นเครื่องปรุงรสในการประกอบอาหารตามตำรับจีน เช่น แป๊ะซะ ผัดราดหน้า และผัดผักชนิดต่าง ๆ นอกจากจะได้อาหารรสชาติดีแล้ว ยังเป็นการเพิ่มโปรตีนในอาหารอีกด้วย

  • เชื้อก่อโรคในน้ำปลาร้า ภาค 2

    ปลาร้า อาหารหมักพื้นเมืองประจำถิ่นอีสาน เรียกได้ว่าทุกบ้านจะต้องมีติดไว้ ชาวอีสานจะเริ่มทำปลาร้าตอนฤดูน้ำหลากจากปลาที่หาได้ตามหนอง บึง นำมาหมักกับเกลือ ใส่ข้าวคั่ว บางที่อาจจะใส่รำ เพื่อเพิ่มความหอม การหมักปลาร้าตามภูมิปัญญาไทยจะหมักกันถึง 3-8 เดือน ทำให้สามารถเก็บไว้กินได้ตลอดทั้งปี และนำมาปรุงอาหารได้หลายชนิด

  • หมึกปิ้งกับอหิวาตกโรค

    นอกจากลูกชิ้นปิ้งและไส้กรอกย่างแล้ว หมึกปิ้งนับเป็นอาหารยอดฮิตอีกชนิดของคนไทย ที่พบเห็นได้ทั่วไปตามริมบาทวิถีในเมืองกรุง และตามหัวเมืองในต่างจังหวัด ทว่าหากก่อนนำมาทานไม่ล้างให้สะอาดและไม่ผ่านการปรุงให้สุกด้วยความร้อน

  • อะฟลาท็อกซิน ในกระเทียมและหอมแดง

    กระเทียมและหัวหอมนับเป็นเครื่องเทศประจำครัวของคนไทยเรามาช้านาน กระเทียมเป็นเครื่องเทศมีกลิ่นหอมฉุน รสชาติเผ็ดร้อน ใช้เป็นทั้งเครื่องเทศปรุงแต่งกลิ่นรสอาหารประเภท ต้ม แกง ผัดและใช้เป็นกระเทียมเจียวโรยหน้าอาหารหลายชนิด ส่วนหอมแดง คนไทยนิยมใช้เป็นส่วนประกอบเครื่องแกงเผ็ด น้ำพริกชนิดต่างๆ ไข่เจียวหมูสับ ซุปหางวัว หรือฝานเป็นแว่นบางๆ ทานร่วมกับแหนมสด เมี่ยงคำ ปลาเค็มทอด ข้าวซอยฯ

  • สารกันบูดในซอสพริก

    ซอสพริก หนึ่งในเครื่องปรุงรสอาหารที่หลายคนชื่นชอบรับประทานคู่กับไก่ทอด หรือสเต็กแบบคนตะวันตก เฝอแบบคนเวียดนาม หรือกับก๋วยเตี๋ยวคั่วไก่แบบคนไทยเป็นเครื่องปรุงสำหรับเพิ่มรสชาติอาหารให้มีความอร่อยถูกปาก

Page: 1 of 68 page(s)