• สารฟอสเฟตในกุ้ง

    สัปดาห์นี้ มันมากับอาหาร มีเรื่องราวของสารฟอสเฟตในกุ้งสดอาหารที่คุ้นเคยของชาวไทยเรามาฝาก  เรื่องมีอยู่ว่าเจ้าสารฟอสเฟตนี้เป็นสารที่ผู้ผลิตอาหารแช่แข็งเค้านำมาใช้จุ่มเคลือบผิวก่อนนำไปแช่แข็ง เพื่อช่วยลดการสูญเสียน้ำหนักและช่วยคงลักษณะเนื้อสัมผัสที่ดีของอาหารทะเลแช่แข็งชนิดต่างๆเอาไว้ การที่ผู้ผลิตใช้สารดังกล่าวนี้เป็นเพราะก่อนที่เราจะนำกุ้งสดที่ผ่านการแช่แข็งมาทานนั้น
     

  • ไส้กรอกไก่ ใส่ดินประสิว ?

    รู้มั๊ยว่า ในอาหารสำเร็จรูปที่เรากินกันอยู่ทุกวันนี้ส่วนใหญ่มีส่วนผสมที่ไม่ใช่อาหารปะปนอยู่ด้วย เช่น สารกันเสีย สารกันบูด สารกันรา สีผสมอาหาร สารที่ใช้ในอาหารส่วนใหญ่นี้ ผู้ประกอบการมักจะเลือกใช้ด้วยความเคยชิน   ใส่ในปริมาณที่เคยใส่ กะเอา ไม่มีการคำนวณ ชั่งตวงวัด ที่รู้ปริมาณที่แน่นอน หยิบได้เท่าไหร่ ใส่เท่านั้น จนลืมคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค

  • คลอเลสเตอรอลในกุ้ง

    ช่วง 3-5 ปีที่ผ่านมานี้ ประเด็นในการสนทนาของคนสูงวัย คงหนีไม่พ้นเรื่องของสุขภาพ กินอะไรดีไม่ให้เป็นโรค กินอะไรที่จะช่วยป้องกันและรักษาโรค  ด้วยเหตุนี้หลายๆ หน่วยงานที่มีหน้าที่ดูแล รับผิดชอบเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของประชาชน จึงล้วนแต่คิดสรรที่จะหาเมนูสุขภาพมาเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์เพื่อเอาใจคนกลุ่มนี้ ส่วนใหญ่แล้วที่หวาดกลัวกันที่สุดเห็นจะหนีไม่พ้น

  • ระวัง ! ส้มตำปลาร้า

    จะว่ากันไปแล้ววัฒนธรรมการกิน และการประกอบอาหารของแต่ละท้องถิ่นนั้น เป็นอีกหนึ่งสัญลักษณ์ที่บ่งบอกอะไรได้หลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่มีการนำสิ่งของที่เหลือใช้จากกการบริโภคมาปรับเปลี่ยน ให้เกิดเป็นอาหารอีกชนิดหนึ่งได้อย่างน่าอัศจรรย์
     

  • ยาฆ่าแมลงในถั่วฝักยาว

    ตามหลักโภชนาการที่ดี ใน 1 วันเราควรทานอาหารให้ครบทั้ง  5 หมู่ หรือถ้าไม่ครบจริงๆ ก็ควรทานให้ได้  3 ใน 5 ถือว่ายังได้อยู่ ซึ่งสถานการณ์ในปัจจุบันประชาชนตาดำๆ อย่างเราเห็นจะเลือกไม่ได้ เพราะตอนนี้ที่ขาดกันอยู่เห็นจะเป็นหมู่  5  คือไขมัน ที่คนไทยกำลังขาดไขมันกันอย่างหนัก โดยเฉพาะไขมันจากพืชจำพวกน้ำมันพืชชนิดต่างๆ หากมองในแง่ดี
     

  • ระวัง แต่มิใช่ระแวง ...

    ช่วงนี้หลายๆ ประเทศต่างอกสั่นขวัญแขวนกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากภัยธรรมชาติ คือ สึนามิและแผ่นดินไหวในญี่ปุ่นที่รุนแรงจนกระทั่งเกิดปัญหาโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ระเบิดและสารกัมมันตรังสีรั่วไหล แพร่กระจายออกไปในรัศมีที่ไกลกว่า 30 กิโลเมตร จนทำให้พบสารกัมมันตรังสีปนเปื้อนอาหารที่เพาะปลูกหรือผลิตในบริเวณรอบๆ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และในรัศมีที่ไกลออกไปกว่า 100 กิโลเมตร

  • น้ำพริกหนุ่มกับเชื้อก่อโรค อี. โคไล

    น้ำพริก มีกินกันมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา คำว่า "น้ำพริก" มีความหมายมาจากการปรุงด้วยการนำสมุนไพร พริก กระเทียม หัวหอม เครื่องเทศกลิ่นแรง มาโขลก บด รวมกัน เพื่อใช้สำหรับจิ้ม เครื่องเคียงต่างๆ การเรียกชื่อน้ำพริกแต่ละชนิด มักจะเรียกตามส่วนประกอบหลักที่นำมาทำ ซึ่งอาจเป็นเนื้อสัตว์ พืชผัก แมลงหรือผลิตผลจากพืชหรือสัตว์ก็ได้ เช่น น้ำพริกขิง น้ำพริกปลา น้ำพริกร้า

  • สารหนูในปลาหมึกแห้ง

    ความปลอดภัยของผู้บริโภคถือได้ว่าเป็นเรื่องใหญ่สำหรับผู้ผลิตอาหาร จะผลิตมาก หรือผลิตน้อย ควรต้องคำนึงถึงความปลอดภัยอยู่เสมอ ถ้าเมื่อใดขาดการรักษาความสะอาด หรือความใส่ใจในเรื่องความปลอดภัยผู้บริโภคอาจตกอยู่ในอันตรายได้ทุกนาที อันตรายที่ว่านั้นอาจมาจากทั้ง เชื้อก่อโรคที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหาร  หรือสารพิษ สารเคมีต่างๆ

  • จุลินทรีย์ใน ……… ชาเย็น

    ช่วงนี้เป็นช่วงที่อากาศบ้านเราเกิดการเปลี่ยนแปลงอยู่บ่อยๆ ฝนตกตอนเช้า ตอนบ่ายอากาศร้อนอบอ้าว  อากาศที่เปลี่ยนแปลงเช่นนี้อาจทำให้คนไม่แข็งแรง เจ็บไข้ได้ป่วยกันง่าย ๆ ฤดูร้อนที่อากาศร้อนมากๆ  นั้นสิ่งที่หนีไม่พ้นคงเป็นน้ำเย็นๆ ชื่นใจ เพราะเมื่อร้อนมากๆ  ร่างกายจะไม่อยากกินอาหาร  มักหิวแต่น้ำ เป็นเพราะร่างกายเสียเหงื่อเป็นจำนวนมาก  จึงต้องการน้ำมาทดแทนเป็นธรรมดาแต่จะเป็นน้ำอะไรนั้น  เราคงต้องเลือกสักนิด

  • ใครว่าผักไทยไม่ปลอดภัย........

    หลังจากที่เป็นประเด็นกันอยู่พักใหญ่สำหรับผักไทย 5 ชนิด ที่ถูกสหภาพยุโรปตรวจพบยาฆ่าแมลงตกค้าง จนถึงขั้นที่สหภาพยุโรปสั่งให้ด่านนำเข้าทุกด่านตรวจผักและพืชสมุนไพรที่นำเข้าจากประเทศไทยอย่างเข้มงวด  สั่นคลอนกันทั้งวงการอุตสาหกรรมส่งออกผักบ้านเราจะว่าไปแล้วเค้าไม่ได้ห้ามให้พบตกค้าง อนุญาตให้พบได้แต่ต้องไม่เกินค่ามาตรฐานที่กำหนดไว้เพื่อให้ปลอดภัยสำหรับคนกิน

Page: 1 of 68 page(s)